เลือกใช้สีแบบไหน ในการออกแบบกล่องฝาเปิดบนกระดาษ ใส่อาหาร
บทความนี้จะช่วยคุณเลือกสีที่เหมาะสมสำหรับการออกแบบกล่องฝาเปิดบนกระดาษ ใส่อาหารของคุณ เพื่อสร้างแบรนด์ที่น่าจดจำ เพิ่มยอดขาย และดึงดูดความสนใจของลูกค้า
ส่วนใหญ่นั้นก็มักจะมีขั้นตอนที่สำคัญเป็นอย่างมากเลยนะครับ การที่เราจะจะผลิตสิ่งพิมพ์ต่างๆ นั้นแน่นอนก็จำเป็นอย่างมากเลยนะครับที่จะต้องผลิตให้ได้ตามแบบที่ต้องการ หรือตามคำสั่งของลูกค้า โดยขั้นตอนการออกแบบและการผลิตของแต่ละคนนั้นก็มักจะมีความแตกต่างกันออกไปนะครับ ผมเชื่อนะครับว่านักออกแบบที่ดีนั้นก็จะต้องมีเทคนิคในการออกแบบที่สามารถสร้างสิ่งพิมพ์ต่างๆ ออกมาได้ดีเป็นอย่างมากนั่นเอง
ทุกวันนี้ตามสถาบันต่างๆ นั้นก็ได้มีหลักสูตรการผลิตสิ่งพิมพ์ออกมาสอนกันเป็นจำนวนมาก โดยก็จะเป็นขั้นตอนพื้นฐานที่จะทำให้คนที่อยากเรียนนั้นสามารถที่จะสนใจในการออกแบบได้นั่นเอง แถมการเรียนในหลักสูตรแบบนี้นั้นก็จะทำให้สามารถนำไปใช้และนำไปปรับแก้กับงานที่เราทำอยู่ได้เป็นอย่างดีนั่นเอง ดังนั้นการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ที่ดีได้นั้นก็จำเป็นที่จะต้องมีทักษะในด้านการออกแบบด้วยนะครับ เพราะการออกแบบก็จำเป็นที่จะต้องมีเทคนิคเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งเพื่อให้งานพิมพ์ของเรานั้นสามารถที่จะออกมาได้ตรงกับความต้องการนั่นเอง
อย่างไรก็ตามขบวนการผลิตสิ่งพิมพ์นั้นไม่ว่าจะพิมพ์อะไรก็ตามแต่ แผ่นพับ โบชัวร์ หนังสือ งานพิมพ์ต่างๆ กล่องบรรจุภัณฑ์ต่างๆ ก็จะต้องผลิตให้ได้ตรงกับรูปแบบและได้จำนวนตามที่ต้องการ แถมการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์นั้นก็จะต้องใส่ในอย่างระเอียดและรอบคอบให้เป็นอย่างมากนะครับเพื่อให้งานที่เราออกแบบมานั้นได้ตรงกับความต้องการนั่นเอง ดังนั้นขบวนการก่อนการพิมพ์นั้น ก็จะเป็นขบวนการก่อนพิมพ์ที่ได้ถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่องเลยนะครับนับตั้งแต่ที่ได้มีการนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ เข้ามาใช้ ในการออกแบบเพื่อให้มีความสะดวกและรวดเร็วเป็นอย่างมากอีกด้วย ซึ่งมันสามารถที่จะควบคุมคุณภาพของงานพิมพ์ ทำแบบแม่พิมพ์ ซึ่งในปัจจุบันนี้นั้นก็สามารถที่จะผลิตเป็นไฟล์ดิจิตอลออกมาได้แล้วนั่นเอง ทำให้การผลิตสิ่งพิมพ์ต่างๆ ในตอนนี้นั้นก็สามารถที่จะออกแบบและจัดทำสิ่งต่างๆ ได้ตามแบบที่ลูกค้าต้องการได้แล้วอีกด้วย
ดังนั้นในวันนี้เราก็จะมาแนะจำขั้นตอนการผลิตสิ่งพิมพ์กันนะครับว่าในแต่ละขั้นตอนนั้นจะมีอย่างไรบ้างและจะมีเทคนิคอะไรบ้างที่จะสามารถทำให้งานออกแบบของเรานั้นสามารถที่จะออกมาได้ตรงกับความต้องการให้มากที่สุดนั่นเอง เอาเป็นว่าในวันนี้เราก็จะมาบอกเทคนิคต่างๆ ของขบวนการก่อนการพิมพ์มาฝากนะครับ ซึ่งขั้นตอนต่างๆ ดังต่อไปนี้นั้นก็จะเป็นอีกหนึ่งอย่างที่จะทำให้การออกแบบของเรานั้นสามารถที่จะตอบโจทย์ลูกค้าได้เป็นอย่างดีอีกด้วยนั่นเอง จะมีอะไรบ้างนั้นเราไปดูกันเลย
การที่เราทำงานพิมพ์มาเป็นในรูปแบบของภาพเส้นหรือลายเส้นต่าง ๆ นั้นก็จำเป็นอ่างมากเลยนะครับที่จะต้องมีการแปลงภาพเหล่านี้นั้นให้เป็นข้อมูลดิจิตอลเสียก่อนโดยเรานั้นก็สามารถที่จะทำได้ง่ายๆ นะครับเพียงแค่มีเครื่องสแกนเนอร์ และการที่เราจะได้คุณภาพของภาพลายเส้นที่เราจะสแกนมีคุณภาพที่สูงนั้นเครื่องสแกนของเราก็จะต้องมีความละเอียดสูงในการสแกนอีกด้วยนั่นเอง อย่างไรก็ตามนั้นเมื่อเราได้ภาพที่เราต้องการแล้วนั้นเราก็สามารถที่จะใช้โปรแกรมต่างๆ ช่วยในการตบแต่งได้อีกด้วยไม่ว่าจะเป็น Adobe Indesign llustrator และ Pagemaker ซึ่งการที่เรานำโปรแกรมเข้ามาช่วยนั้นก็จะทำให้งานที่เราสแกนนั้นออกมาได้ตรงกับความต้องการของเรานั่นเอง แถมยังจะสามารถที่จะทำให้งานของเรานั้นมีคุณภาพตามที่ต้องการอีกด้วย
แน่นอนนะครับความผิดพลาดมันสามารถที่จะเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ดังนั้นในการที่เราจะพิมพ์งานอะไรก็ตามแต่เราก็จะต้องมีการตรวจสอบชิ้นงานอยู่ตลอดเวลาอย่างสม่ำเสมอนะครับเพื่อที่จะได้ไม่เกิดความผิดพลาดเพราะถ้าหากเกิดความผิดพลาดขึ้นมานั้นก็จะทำให้เกิดความเสียหายและเสียค่าใช้จ่ายโดยใช่เหตุ อย่างไรก็ตามนั้นไม่ว่าจะทำงานอะไรก็ตามแต่ งานพิมพ์จะยากหรือจะง่ายขนาดไหนก็จะต้องมีการตรวจสอบข้อมูลในไฟล์งานด้วยนะครับ ซึ่งเราก็จะต้องดูให้ทุกซอกทุกมุม ดูฟอนต์ ดูขนาดของตัวอักษรว่ามีความถูกต้องและสวยงามหรือไม่หรือเปล่า แถมคำผิดต่างๆ นั้นก็จะเป็นอีกหนึ่งสิ่งที่ค่อนข้างที่จะสำคัญเพราะว่าถ้าเราพิมพ์ผิดมาบางครั้งก็อาจจะทำให้เกิดความหมายที่ผิดก็ได้เช่นกัน อย่างไรก็ตามนั้นการตรวจสอบทุกครั้งก็จะเป็นเครื่องหมายการันตีว่าชิ้นงานที่ออกไปนั้นมีความถูกต้องนั่นเอง
คุณอาจสนใจ 4 ขั้นตอนการเตรียมไฟล์สำหรับงานพิมพ์ OFFSET
ซึ่งแม่พิมพ์ที่ใช้นั้นก็มักจะมีขนาดที่ใหญ่เป็นอย่างมาก โดยทุกวันนี้นั้นก็จะมีขนาดความหนาอยู่ที่ 8 หน้า สามารถที่จะวางฉลากได้พร้อมกันถึง 40 ชิ้นด้วยกันเลยนะครับ ซึ่งขั้นตอนนี้นั้นก็จะเป็นการจัดวางหน้าสำหรับแม่พิมพ์แต่ละชุด โดยเราก็จำเป็นอย่างมากที่จะต้องมีการจัดหน้าหรือจัดวางอะไรก็ตามแต่ให้ถูกต้องและแม่นยำ โดยทุกวันนี้ไม่ว่าจะทำอะไรก็ตามแต่ก็ได้มีโปรแกรมสำเร็จรูปเอาไว้ให้ใช้งานทำให้การจัดหน้าของเรานั้นก็จะมีความสะดวกและรวดเร็วเป็นอย่างมากนั่นเอง
ก่อนที่เราจะทำแม่พิมพ์จริงๆ นั้นมันก็จะต้องมีการเทสชิ้นงานกันก่อนนะครับว่าถูกต้องตามความต้องการได้หรือเปล่า โดยไม่ว่าจะเป็นสีสัน ตัวอักษร ไซต์ของตัวอักษรนั้นเราก็จะต้องตรวจสอบให้แม่นยำและถูกต้องด้วยนะครับ โดยเราสามารถที่จะตรวจเช็คจากเครื่องพิมพ์ได้ก่อนเลย โดยทั่วไปนั้นส่วนใหญ่ก็จะนิยมพิมพ์ในรูปแบบของระบบอิงค์เจ็ทนั่นเอง ดังนั้นการทำปรู๊ฟเพื่อเอาไว้เช็คชิ้นงานนั้นก็จะมีค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่าการทำแม่พิมพ์มาเลยนะครับ เพราะบางทีนั้นถ้าหากมีการแก้ไขอะไรก็ตามแต่ก็จะทำให้ค่าใช้จ่ายของเรานั้นไม่เยอะ แถมยังถูกลงอีกด้วยนั่นเอง อย่างไรก็ตามนั้นการทำปรู๊ฟดิจิตอลในทุกวันนี้นั้นก็ถือเป็นอีกหนึ่งสิ่งที่หลาย ๆคนนั้นก็นิยมที่จะนำมามาใช้กันเป็นอย่างมากนั่นเอง
ซึ่งการพิมพ์แยกสีนั้นก็จะเป็นการแยกเป็นสีๆ สำหรับทำแม่พิมพ์ในหนึ่งชุดนะครับ ซึ่งหลักการของทำฟิล์มแยกสีนั้นก็จะเป็นการแยกภาพในไฟล์งานออกมาเป็นภาพสีโดดๆ โดยจะต้องมีมาตรฐานจะได้ภาพแม่สีสี่ภาพ ซึ่งก็จะเป็นระบบสีในรูปแบบ CMYK โดยไฟล์งานนั้นก็จะถูกส่งมาเป็นในรูปแบบที่เรียกว่าโพสคริปต์ แล้วก็มาแปลงเป็นรูปบราสเตอร์นั่นเอง จากนั้นก็ได้ส่งไปที่เครื่องพิมพ์ฟิล์มอีกครั้งซึ่งถือเป็นอีกหนึ่งกรรมวิธีที่มีความยุ่งยากเป็นอย่างมากแถมยังจะต้องมีการส่งต่อไปอีกหลาย ๆเครื่องปริ้นทำให้คนออกแบบส่วนใหญ่ก็มักจะงงกับขั้นตอนนี้เช่นกัน
เมื่อเราได้ฟิล์มแยกสีแล้วนั้น ก็นำฟิล์มที่เราได้นั่นแหละมาแนบกับแม่พิมพ์ที่เรานั้นได้เคลือบสารไวแสงเอาไว้ ซึ่งก็จะทำให้การฉายแสงต่างๆ ซึ่งในส่วนที่โดนแสงนั้นก็จะทำให้ปฏิกิริยาออกมากับสารไวแสง เมื่อนำภาพไปล้างน้ำยานั้นก็จะเกิดภาพขึ้นบนแม่พิมพ์นั่นเอง การทำแม่พิมพ์ในแต่ละรูปแบบนั้นก็จะมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไปเลยนะครับ ซึ่งแต่ละชนิดแต่ละประเภทนั้นก็จะมีค่าใช้จ่ายทีสูงเป็นอย่างมาก แถมขั้นตอนการทำแม่พิมพ์นั้นก็ยังมีความซับซ้อนและน่าสงสัยอีกด้วยนั่นเอง อย่าไรก็ตามนั้นการที่ทำแม่พิมพ์ผ่านทางคอมพิวเตอร์นั้นก็ไม่จำเป็นที่จะต้องมีการแยกสีก่อนนะครับ ก็สามารถที่จะส่งในขั้นตอนต่อไปได้เลยนั่นเอง แต่บางชนิดและบางอย่างนั้นก็มีราคาที่สูงอยู่มาก ดังนั้นเราก็ควรที่จะเหลือกให้ตอบโจทย์ต่อกับความต้องการของเรานั่นเอง
การที่ทำปรู๊ฟแท่นนั้นก็เป็นเพียงการที่เราต้องการชิ้นงานไปเป็นตัวอย่างนะครับ โดยไม่ว่าจะเป็นงานพิมพ์แบบไหนก็ตามแต่เราก็จะต้องมีการปรู๊ฟจากแม่พิมพ์จริงๆ เสียก่อน โดยการปรู๊ฟนั้นก็จะเหมาะสมกับงานพิมพ์พวกประเภท โบชัวร์ นิตยสาร แผ่นพับต่างๆ บรรจุภัณฑ์ต่างๆ เพราะงานพิมพ์ชนิดนี้นั้นก็จะต้องมีงานพิมพ์ที่มีคุณภาพที่สูงเป็นมากนั่นเอง ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นงานพิมพ์ในรูปแบบอะไรก็ตามแต่การที่เรามีการแบ็คอัพข้อมูลเก็บไว้ก็จะเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่จะทำให้งานของเราดูดีและมีความน่าสนใจอีกด้วยนั่นเอง การปรู๊ฟนั้นก็ถือเป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเป็นอย่างยิ่งดังนั้นถ้าเรามีการสั่งงานออกแบบต่างๆ หรืองานพิมพ์ต่างๆ ก็จำเป็นอย่างมากนะครับที่ทางโรงพิมพ์นั้นจะต้องมีการส่งชิ้นงานมาให้เราตรวจสอบเพื่อที่จะได้เช็คอย่างละเอียดจะได้สามารถที่จะปรับแก้ไขได้ตรงแบบตามที่ลูกค้าต้องการอีกด้วย
อย่างไรก็ตามนั้นการที่เรามีเทคนิคต่างๆ ในการที่จะทำงานพิมพ์ของเรานั้นให้ออกมามีคุณภาพนั้นแน่นอนนะครับเราก็จะต้องมีข้อมูลและเทคนิควิธีการต่างๆ เพื่อให้การจัดทำงานพิมพ์นั้นออกมาได้ดีและมีความสวยงามเป็นอย่างมากอีกด้วย แถมทุกวันนี้นั้นก็มีโรงพิมพ์ต่างๆ ให้เราเลือกใช้บริการกันเยอะเป็นอย่างมากเลยนะครับ ซึ่งผมเชื่อนะครับว่าในแต่ละที่ก็จะมีเทคนิคในการจัดการกับงานพิมพ์ที่แตกต่างกันออกไปเลยนะครับ ซึ่งในการเลือกโรงพิมพ์ต่างๆ นั้นก็จะเป็นอีกหนึ่งสิ่งที่ค่อนข้างที่จะสำคัญเป็นอย่างมากเลยนะครับ เพราะถ้าเราเลือกไม่ดีแน่นอนงานพิมพ์ที่เราได้สั่งทำไปนั้นก็จะออกมาไม่ตรงกับความต้องการของลูกค้าได้นั่นเอง
ทุกวันนี้หลายๆ โรงพิมพ์ ก็ได้มีการรับจัดทำงานสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ เป็นจำนวนมากเลยนะครับ ซึ่งไม่ว่าจะงานเล็กหรืองานใหญ่นั้น เราเป็นผู้ที่จ่ายเงินค่าจ้างก็จำเป็นที่จะต้องมีการตรวจสอบและคัดเลือกสิ่งต่างๆ ให้ดีที่สุดไม่เช่นนั้นงานพิมพ์ของเราที่ออกมานั้นก็อาจจะไม่ตรงตามสเปคตามที่ต้องการได้นั่นเอง ดังนั้นการที่เรามีการตรวจสอบชิ้นงานทุกครั้งนั้นก็ถือเป็นอีกหนึ่งสิ่งที่ดีเป็นอย่างมากเลยนะครับ เพราะนอกจากจะทำให้งานของเราไม่เสียหายแล้วนั้นก็ยังจะเป็นการทำให้ชิ้นงานพิมพ์ของเราออกมาเป็นอย่างดีอีกด้วยนั่นเอง
เทคนิคต่างๆ ที่เราได้นำเสนอไปข้างต้นนี้นั้นผมก็เชื่อว่าทุกคนน่าจะสามารถไปปรับใช้กันได้เลยนะครับ รับรองเลยว่างานพิมพ์ที่เราต้องการนั้นก็จะออกมาอย่างสมบูรณ์แบบตามที่เราต้องการอีกด้วยนั่นเอง
แนะนำบทความเพิ่มเติม กระดาษที่ใช้ในโรงพิมพ์ กระบวนการพิมพ์ OFF-SET